Not known Details About พระเครื่อง

หน้าสำหรับผู้แก้ไขที่ออกจากระบบ เรียนรู้เพิ่มเติม ส่วนร่วม

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะสมัยสุโขทัย

พระเครื่องพระรอดพระรอดมหาวันพระเซียนพระพระเบญจภาคีข่าววันนี้ข่าวด่วนสังคม

เรื่องฮอตในรอบสัปดาห์ของหมวด สังคม

Legitimate amulets are rarely located for the Tha Phrachan Sector. Numerous collectors and devotees preserve a dependable seller of genuine amulets. The examine and authentication of actual amulets is as advanced a subject as will be to be present in the antique trade, or in identical niches which include stamp accumulating.

พระเนื้อชินเงิน ถ้าขั้นตอนการสร้างพระพิมพ์มีสัดส่วนของเนื้อเงินเยอะที่สุดจะเรียกว่าพระชินเนื้อเงิน มีลักษณะเป็นสีเงินสวยงาม

ในสมัยอยุธยาเริ่มมีการสร้างพระพิมพ์เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคล ความศักดิ์สิทธิ์ และดลบันดาลให้เกิดอานุภาพต่าง ๆ สำหรับพกเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจเวลาไปสงครามแทนการพกเครื่องรางแบบเก่า เช่น ผ้าประเจียด (ผ้ายันต์ที่ใช้ผูกแขนหรือคล้องคอ) ตะกรุด พิสมร เป็นต้น ต่อมาในสมัยต้นรัตนโกสินทร์เกิดการเปลี่ยนแนวคิดทางพุทธศาสนา อีกทั้งได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมและวิทยาการจากชาติตะวันตก การสร้างพระพิมพ์เพื่อใช้เป็นเครื่องรางของขลังได้รับความนิยมมากขึ้น พระพิมพ์ที่สร้างเพื่อความเชื่อและความศรัทธาในพุทธคุณด้านต่าง ๆ เหล่านี้เรียกว่า “พระเครื่อง”

หลวงปู่ทองพูล สิริกาโม ( พระครูสิริธรรมวัฒน์ )

พระอุปคุตเนื้อสัมฤทธิ์ พร้อมเลี่ยมเดิม

พระผงสุพรรณ เป็นองค์แทนพระเครื่องที่สร้างในสมัยอู่ทอง ซึ่งรุ่นที่นิยมคือ พระผงสุพรรณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดสุพรรณบุรี

พระกำแพงซุ้มกอ เป็นองค์แทนพระเครื่องที่สร้างในสมัยสุโขทัย รุ่นที่นิยมคือ พระกำแพงซุ้มกอ จังหวัดกำแพงเพชร ในยุคปัจจุบันถือเป็นพระที่พบเจอน้อยที่สุด

ข้ามไปเนื้อหา เมนูหลัก เมนูหลัก

Pressing die to generate plaster amulets Amulets are created using the Buddha image, an image of a well-known monk, and often even an image of the monks who made the amulets. Amulets vary in size, shape, and materials such as plaster, bone, Wooden, or steel. They might contain ash from incense or พระเครื่อง old temple buildings or hair from the famed monk to include protective power into the amulets.

พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศไทยราวสมัยทวารวดีพร้อมกับความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ ในสมัยทวารวดีได้รับเอาคติความเชื่อของชาวอินเดียเข้ามาโดยตรงส่งผลให้การสร้างพระพิมพ์ในสมัยทวารวดีมีวัตถุประสงค์การสร้างเหมือนกับอินเดีย คือ การสร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาซึ่งเป็นความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องปัญจอันตรธานซึ่งปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนา เมื่อพุทธศาสนาแผ่ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย ความเชื่อเรื่องการสร้างพระพิมพ์ก็เปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่าง ๆ แต่ละพื้นที่ อาทิ พุทธศาสนาสมัยศรีวิชัยได้รับอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเชื่อเรื่องการบำเพ็ญบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ ส่งผลให้การสร้างพระพิมพ์ในสมัยศรีวิชัยจากที่สร้างพระพิมพ์เพื่อสืบพระศาสนาเปลี่ยนแปลงไปสู่การสร้างเพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตายและเป็นการสะสมบุญเพื่อเป็นพระโพธิสัตว์ในภายหน้า เป็นต้น

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *